ข่าวประจำวัน » ข่าวเด่น » #กษัตริย์ก็เสียภาษี ! ความจริงที่คนไทยควรรู้

#กษัตริย์ก็เสียภาษี ! ความจริงที่คนไทยควรรู้

20 October 2020
1578   0

#สถาบันพระมหากษัตริย์ไม่เคยใช้ภาษีประชาชน

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ลงทุนหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
# ซึ่งต้องชำระภาษีอากรเช่นเดียวกับบริษัททั่วไป มีข้อมูลเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ดังต่อไปนี้

บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน) – ทุนจดทะเบียน 500 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท
สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ – ถือหุ้นร้อยละ 98.54 จำนวน 49,272,239 หุ้น (ออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2551)

บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (SET:SCC) – ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 1,200 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 474 บาท
สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ – ถือหุ้นร้อยละ 30 จำนวน 360 ล้านหุ้น
บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด – ถือหุ้นร้อยละ 1.6 จำนวน 19.22 ล้านหุ้น

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (SET:SCB) – ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 33,944.38877 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 144 บาท
สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ – ถือหุ้นร้อยละ 21.3 จำนวน 722.941958 ล้านหุ้น
บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด – ถือหุ้นร้อยละ 2.43 จำนวน 82.3678 ล้านหุ้น

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ดิจิทัล (SET:DIF) – ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 58,080 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 12.2 บาท
บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด – ถือหุ้นร้อยละ 0.86 จำนวน 50 ล้านหุ้น

บริษัท เจ มาร์ท จำกัด (มหาชน) (SET:JMART) – ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 524.463106 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 9 บาท
บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด – ถือหุ้นร้อยละ 0.61 จำนวน 3.1827 ล้านหุ้น

บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จำกัด (มหาชน) (SET:PTG) – ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 1,670 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 16.3 บาท
บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด – ถือหุ้นร้อยละ 0.5 จำนวน 8.3521 ล้านหุ้น

และยังมีการลงทุนในบริษัทดังต่อไปนี้

-สยามพิวรรธน์
-ดอยคำ
-บริษัท สยามสินธร จำกัด [21]
-บริษัท นวุติ จำกัด [22]
-บริษัท เอเพ็กซ์เซล่า จำกัด [23]
-บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด [24]
-เครือโรงแรมเคมปินสกี้ (จากประเทศเยอรมนี ซึ่งสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์) [25]
-บริษัท หินอ่อน จำกัด [26]
-บริษัท ฮอนด้าออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด [27]
-บริษัท องค์การเภสัชกรรม – เมอร์ริเออร์ชีววัตถุ จำกัด [28]
-บริษัท ปตท.จำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จำกัด [29]
-บริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด [30]
-บริษัท นันทวัน จำกัด (ไทยโอบายาชิ) [31]
-บริษัท พรีมัส (ประเทศไทย) จำกัด [32]
-มหาวิทยาลัยเอเชียน [33]

บริษัทในเครือ
สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ดำเนินการจัดตั้งบริษัทในเครือขึ้น 2 แห่ง เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการสินทรัพย์ต่างๆ โดยชำระภาษีอากรเช่นเดียวกับบริษัททั่วไป ดังต่อไปนี้

บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด – ทำหน้าที่บริหารการลงทุนในหุ้นอื่นๆ

บริษัท วังสินทรัพย์ จำกัด – ทำหน้าที่ดูแลการลงทุนอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่

ผลการดำเนินงาน
ภายหลังการมีสถานะเป็นนิติบุคคลในปี พ.ศ. 2491 สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีการบริหารงานเช่นเดียวกับองค์กรทั่วไป จนกระทั่งเมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจใน พ.ศ. 2540 ซึ่งบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ถือหุ้นอยู่ ได้รับความเสียหายอย่างหนัก จึงมีการปรับปรุงการบริหารงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง และกิจการต่างๆ ที่ลงทุน เริ่มฟื้นตัวได้ในปี พ.ศ. 2546[ต้องการอ้างอิง] จึงทำให้สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีรายได้ในปีนั้นที่ประมาณ 3,800 ล้านบาท[ต้องการอ้างอิง]

จากการแถลงข่าวประจำปี พ.ศ. 2548 ของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ โดยจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานฯ แจ้งว่าในปี พ.ศ. 2547 สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีรายได้ประมาณ 5 พันล้านบาท โดยประมาณร้อยละ 90 เป็นรายได้จากเงินปันผลของหุ้นที่ลงทุนใน บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย บมจ.ธนาคารไทยพาณิชย์ และ บมจ.เทเวศประกันภัย[ต้องการอ้างอิง] ที่เหลืออีกประมาณร้อยละ 8 หรือประมาณ 400 ล้านบาท เป็นรายได้จากค่าเช่าที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์[ต้องการอ้างอิง]

👉 https://bit.ly/2CBG1o